เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Brief Record : Get Marc (ISO 2709) : QR code ปิดหน้าต่าง
E-books : เกี่ยวกับ Collections
001    13772
003     ULIBM
008    180204s||||||||th 000 0 tha d
020    ^a9741764553
082 14 ^a633.58^bณ253ค
099  2 ^aวิทยานิพนธ์
100 0  ^aณฤทธิ์ ไชยคีรี
245 ^a ^a1111
246 0  ^aBamboo wide span structure
500 ^a พิมพ์ดีด (ถ่ายสำเนา)
520    ^aการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโครงสร้างไม้ไผ่ที่มีช่วงพาดกว้าง 10 เมตร โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแรงงานคนและการรับและถ่ายแรงอย่าง ถูกต้องในส่วนต่างๆ ของโครงสร้าง โดยออกแบบอาคารตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองแก้ปัญหาก่อสร้าง อาคารด้วยไม้ไผ่ ให้มีความสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยที่ต้องการ ในพื้นที่โครงการก่อสร้างโรงเก็บ เครื่องจักรในงานก่อสร้าง บริษัท ปทุมธานีบริวเวอรี่ จำกัด การเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 2 เรื่องหลัก เรื่องแรกคือ ไม้ไผ่ โดยศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและ คุณสมบัติของไม้ไผ่ และเทคโนโลยีก่อสร้างที่เกี่ยวกับไม้ไผ่ ส่วนเรื่องที่สองคือ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง แบบโครง (Truss) โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูล หารูปแบบ และกรรมวิธีการก่อสร้างที่มีความเป็นไปได้ จากนั้นได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารตัวอย่าง จากการวิจัยพบว่า ปัญหาในขั้นตอนการออกแบบอาคารนั้น ไม่สามารถนำแบบที่ได้ นำมา ก่อสร้างได้จริง เพราะไม้ไผ่ที่หาได้นั้น ไม่ได้ตามที่ต้องการ จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนแบบก่อสร้างตามวัสดุที่ได้มา อาคารทดลองที่ทำการก่อสร้างเสร็จแล้วนั้น แสดงให้เห็นว่าไม้ไผ่มีความสามารถในการนำมาก่อสร้างอาคารช่วงพาดกว้างได้เป็นอย่างดี แม้ว่าจะใช้เพียงวัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่ายทั่วไป รวมทั้งใช้เพียงแรงงานที่มีทักษะในงานก่อสร้างอาคารน้อยก็ตาม อาคารสามารถสร้างเสร็จในระยะเวลาอันสั้น อาคารมีความมั่นคง แข็งแรง และใช้งบประมาณในการก่อสร้างไม่มาก
520    ^aการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโครงสร้างไม้ไผ่ที่มีช่วงพาดกว้าง 10 เมตร โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแรงงานคนและการรับและถ่ายแรงอย่าง ถูกต้องในส่วนต่างๆ ของโครงสร้าง โดยออกแบบอาคารตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองแก้ปัญหาก่อสร้าง อาคารด้วยไม้ไผ่ ให้มีความสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยที่ต้องการ ในพื้นที่โครงการก่อสร้างโรงเก็บ เครื่องจักรในงานก่อสร้าง บริษัท ปทุมธานีบริวเวอรี่ จำกัด การเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 2 เรื่องหลัก เรื่องแรกคือ ไม้ไผ่ โดยศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและ คุณสมบัติของไม้ไผ่ และเทคโนโลยีก่อสร้างที่เกี่ยวกับไม้ไผ่ ส่วนเรื่องที่สองคือ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง แบบโครง (Truss) โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูล หารูปแบบ และกรรมวิธีการก่อสร้างที่มีความเป็นไปได้ จากนั้นได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารตัวอย่าง จากการวิจัยพบว่า ปัญหาในขั้นตอนการออกแบบอาคารนั้น ไม่สามารถนำแบบที่ได้ นำมา ก่อสร้างได้จริง เพราะไม้ไผ่ที่หาได้นั้น ไม่ได้ตามที่ต้องการ จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนแบบก่อสร้างตามวัสดุที่ได้มา อาคารทดลองที่ทำการก่อสร้างเสร็จแล้วนั้น แสดงให้เห็นว่าไม้ไผ่มีความสามารถในการนำมาก่อสร้างอาคารช่วงพาดกว้างได้เป็นอย่างดี แม้ว่าจะใช้เพียงวัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่ายทั่วไป รวมทั้งใช้เพียงแรงงานที่มีทักษะในงานก่อสร้างอาคารน้อยก็ตาม อาคารสามารถสร้างเสร็จในระยะเวลาอันสั้น อาคารมีความมั่นคง แข็งแรง และใช้งบประมาณในการก่อสร้างไม่มาก
650  4 ^aไม้ไผ่
650 04 ^aวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
700 0  ^aพรชัย เลาหชัย, ที่ปรึกษา
999     ^aThanyaporn Prempree
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. หนังสือ
หนังสือ
วิทยานิพนธ์  
  Barcode: ASIA-B021123
ห้องสมุดสถาบันอาศรมศิลป์
►วิจัย วิทยานิพนธ์
On Shelf
  ขอยืม
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    ชื่อเรื่อง [โครงสร้างไม้ไผ่ช่วงพาดกว้าง]

    ผู้แต่ง [ณฤทธิ์ ไชยคีรี]

    หัวเรื่อง [ไม้ไผ่]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: โครงสร้างไม้ไผ่ช..
Bib 13772

 

 
 

 Union Library Management : ULibM
Copyright 2024. All Rights Reserved.