ผู้แต่ง |
ชาตรี ประกิตนนทการ |
ชื่อเรื่อง |
1111 |
ISBN |
974-323-323-7
|
เลขเรียก |
720.9593 ช514ก |
ครั้งที่พิมพ์ |
พิมพ์ครั้งที่ 1 |
ลักษณะทางกายภาพ |
15, 503 หน้า : ภาพประกอบ ; 22 ซม |
หมายเหตุ |
การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมผ่านมุมมองทางสังคมและการเมือง -- จาก จักรวาลทัศน์แบบไตรภูมิ สู่ จักรวาลทัศน์สมัยใหม่แบบวิทยาศาสตร์ ในสถาปัตยกรรม : เหตุผลนิยม สัจนิยมและมนุษยนิยม ; ความเสื่อมถอยของ จักรวาลทัศน์แบบไตรภูมิ ; สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 4 : มิติทางการเมืองกับการตีความพุทธศาสนาใหม่ของ ธรรมยุติกนิกาย -- ความหมายทางสังคมและการเมืองในงานสถาปัตยกรรมยุค สยามใหม่ : รูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตก : ฉากแห่ง ความศิวิไลซ์ของ สยามใหม่ ; รูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตก ในงาน สถาปัตยกรรมแบบจารีต : ภาพสะท้อนของจุดเปลี่ยนผ่านทางสถาปัตยกรรมจาก สยามเก่า สู่ สยามใหม่ ; จาก พระเจ้าราชาธิราช สู่ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในงานสถาปัตยกรรม -- รูปแบบสถาปัตยกรรมเมื่อยามสนธยาของ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (พ.ศ. 2453-2475) : อัตลักษณ์ความเป็นไทย : การสร้างความหมายใหม่ในงานศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบจารีตสมัยรัชกาลที่ 6; สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ : ภาพสะท้อนแนวความคิดชาตินิยมแบบ ราชาชาตินิยม สมัยรัชกาลที่ 6 ; สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 7 : ฉากสุดท้ายของสถาปัตยกรรมในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ -- ความหมายทางสังคมและการเมืองในงานสถาปัตยกรรม ภายใต้อุดมการณ์ ประชาธิปไตย และชาตินิยมไทย (พ.ศ. 2475-2490) -- ความหมายทางสังคมและการเมืองหลังสังครามโลกครั้งที่สอง กับการรื้อฟื้น รูปแบบจารีต และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ (พ.ศ. 2490-2500) |
ชื่อชุด |
ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ |
หัวเรื่อง |
สถาปัตยกรรมไทย |
หัวเรื่อง |
สถาปัตยกรรม--ไทย |
หัวเรื่อง |
สถาปัตยกรรมไทย--ประวัติ |
หัวเรื่อง |
สถาปัตยกรรมกับรัฐ |
หัวเรื่อง |
สถาปัตยกรรม--แง่การเมือง--ไทย |
หัวเรื่อง |
สถาปัตยกรรม--แง่สังคม--ไทย |
หัวเรื่อง |
ไทย--การเมืองและการปกครอง |
หัวเรื่อง |
ไทย--ภาวะสังคม |