ผู้แต่ง |
ณฤทธิ์ ไชยคีรี |
ชื่อเรื่อง |
1111 |
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง |
Bamboo wide span structure |
ISBN |
974-176-455-3
|
เลขเรียก |
633.58 ณ253ค |
เลขเรียก |
วิทยานิพนธ์ |
หมายเหตุ |
พิมพ์ดีด (ถ่ายสำเนา) |
หมายเหตุ |
Summary: การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโครงสร้างไม้ไผ่ที่มีช่วงพาดกว้าง 10 เมตร โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแรงงานคนและการรับและถ่ายแรงอย่าง ถูกต้องในส่วนต่างๆ ของโครงสร้าง โดยออกแบบอาคารตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองแก้ปัญหาก่อสร้าง อาคารด้วยไม้ไผ่ ให้มีความสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยที่ต้องการ ในพื้นที่โครงการก่อสร้างโรงเก็บ เครื่องจักรในงานก่อสร้าง บริษัท ปทุมธานีบริวเวอรี่ จำกัด การเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 2 เรื่องหลัก เรื่องแรกคือ ไม้ไผ่ โดยศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและ คุณสมบัติของไม้ไผ่ และเทคโนโลยีก่อสร้างที่เกี่ยวกับไม้ไผ่ ส่วนเรื่องที่สองคือ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง แบบโครง (Truss) โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูล หารูปแบบ และกรรมวิธีการก่อสร้างที่มีความเป็นไปได้ จากนั้นได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารตัวอย่าง จากการวิจัยพบว่า ปัญหาในขั้นตอนการออกแบบอาคารนั้น ไม่สามารถนำแบบที่ได้ นำมา ก่อสร้างได้จริง เพราะไม้ไผ่ที่หาได้นั้น ไม่ได้ตามที่ต้องการ จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนแบบก่อสร้างตามวัสดุที่ได้มา อาคารทดลองที่ทำการก่อสร้างเสร็จแล้วนั้น แสดงให้เห็นว่าไม้ไผ่มีความสามารถในการนำมาก่อสร้างอาคารช่วงพาดกว้างได้เป็นอย่างดี แม้ว่าจะใช้เพียงวัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่ายทั่วไป รวมทั้งใช้เพียงแรงงานที่มีทักษะในงานก่อสร้างอาคารน้อยก็ตาม อาคารสามารถสร้างเสร็จในระยะเวลาอันสั้น อาคารมีความมั่นคง แข็งแรง และใช้งบประมาณในการก่อสร้างไม่มาก |
หมายเหตุ |
Summary: การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโครงสร้างไม้ไผ่ที่มีช่วงพาดกว้าง 10 เมตร โดยอาศัยเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแรงงานคนและการรับและถ่ายแรงอย่าง ถูกต้องในส่วนต่างๆ ของโครงสร้าง โดยออกแบบอาคารตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองแก้ปัญหาก่อสร้าง อาคารด้วยไม้ไผ่ ให้มีความสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยที่ต้องการ ในพื้นที่โครงการก่อสร้างโรงเก็บ เครื่องจักรในงานก่อสร้าง บริษัท ปทุมธานีบริวเวอรี่ จำกัด การเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 2 เรื่องหลัก เรื่องแรกคือ ไม้ไผ่ โดยศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและ คุณสมบัติของไม้ไผ่ และเทคโนโลยีก่อสร้างที่เกี่ยวกับไม้ไผ่ ส่วนเรื่องที่สองคือ ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง แบบโครง (Truss) โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูล หารูปแบบ และกรรมวิธีการก่อสร้างที่มีความเป็นไปได้ จากนั้นได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารตัวอย่าง จากการวิจัยพบว่า ปัญหาในขั้นตอนการออกแบบอาคารนั้น ไม่สามารถนำแบบที่ได้ นำมา ก่อสร้างได้จริง เพราะไม้ไผ่ที่หาได้นั้น ไม่ได้ตามที่ต้องการ จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนแบบก่อสร้างตามวัสดุที่ได้มา อาคารทดลองที่ทำการก่อสร้างเสร็จแล้วนั้น แสดงให้เห็นว่าไม้ไผ่มีความสามารถในการนำมาก่อสร้างอาคารช่วงพาดกว้างได้เป็นอย่างดี แม้ว่าจะใช้เพียงวัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่ายทั่วไป รวมทั้งใช้เพียงแรงงานที่มีทักษะในงานก่อสร้างอาคารน้อยก็ตาม อาคารสามารถสร้างเสร็จในระยะเวลาอันสั้น อาคารมีความมั่นคง แข็งแรง และใช้งบประมาณในการก่อสร้างไม่มาก |
หัวเรื่อง |
ไม้ไผ่ |
หัวเรื่อง |
วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
ผู้แต่งร่วม |
พรชัย เลาหชัย, ที่ปรึกษา |