ผู้แต่ง |
ธงชัย วินิจจะกูล |
ชื่อเรื่อง |
1111 ว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่ / |
ISBN |
978-616-76-6722-5
|
เลขเรียก |
320.9593 ธ118ป |
ครั้งที่พิมพ์ |
พิมพ์ครั้งที่ 1 |
ลักษณะทางกายภาพ |
(15), 313 หน้า : ภาพประกอบ |
หมายเหตุ |
Partial Contents: ภาค 1 ประชาธิปไตยแบบไทย -- ชัยชนะของเสรีประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง -- วาทกรรมพระราชอำนาจหรือประชาธิปไตยแบบคิดสั้น -- ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา |
หมายเหตุ |
Partial Contents: ภาค 2 รัฐประหาร -- รัฐประหารของฝ่ายเจ้ากับแรงจูงใจซ่อนเร้น -- ล้มประชาธิปไตย -- สัมฤทธิผลนิยม (Pragmatism) ของปัญญาชนไทยกับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 -- เริ่มต้นประชาธิปไตยแบบภูมิปัญญาไทยหรืออภิชนาธิปไตยขบวนสุดท้าย |
หมายเหตุ |
Partial Contents: ภาค 3 สังหารหมู่ -- เชื้อร้าย: เมื่อร่างกายทางการเมืองไทยติดเชื้อแดง --ฝุ่นตลบหลังมีคนถูกฆ่าตายตรงราชประสงค์ |
หมายเหตุ |
Partial Contents: ภาค 4 เปลี่ยน (ไม่) ผ่าน -- มรกดสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบัน -- สถาบันกษัตริย์กับฝ่ายต่อต้านเครือข่ายกษัตริย์: ช้างสองตัวในห้องการเมืองไทยกับสภาวะปฏิเสธความเป็นจริง -- ระบอบสังคมการเมืองที่ขัดฝืนการเปลี่ยนแปลงคืออันตรายที่แท้จริง |
หมายเหตุ |
Summary: ในสายธารประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยอันยาวนาน ธงชัยวิเคราะห์ให้เราเห็นการต่อสู้ต่อรองของผู้เล่นมากหน้าหลายตา ทั้งการปะทะกันระหว่างสถาบันกษัตริย์และฝ่ายนิยมเจ้า กับคณะราษฎรและผู้เอาใจช่วยระบอบใหม่ที่มีจุดยืนร่วมกันว่าอำนาจสูงสุดนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย เพื่อกำหนดสถานะและอำนาจของสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ การปะทะกันระหว่างกองทัพกับฝ่ายเสรีนิยมที่จบลงด้วยชัยชนะอย่างไม่กระโตกกระตากของสถาบันกษัตริย์ รวมถึงความขัดแย้งระหว่างนักการเมืองและกลุ่มทุน กับขบวนการพลเมืองซึ่งหันไปเป็นพันธมิตรกับฝ่ายนิยมเจ้า ทั้งนี้ทั้งนั้น ผู้เล่นที่ธงชัยวิเคราะห์แจกแจงบทบาทไว้อย่างละเอียดและลุ่มลึกที่สุดก็คือสถาบันกษัตริย์ที่คนส่วนใหญ่มองว่ามีสถานะ เหนือการเมือง |
หัวเรื่อง |
ประชาธิปไตย--ไทย |
หัวเรื่อง |
สมบูรณาญาสิทธิราชย์--ไทย |
หัวเรื่อง |
รัฐประหาร--ไทย |
หัวเรื่อง |
ความรุนแรงทางการเมือง--ไทย |
หัวเรื่อง |
ไทย--การเมืองและการปกครอง--ศตวรรษที่ 21 |